ขอบข่ายการวิจัย

ศึกษาวิจัยด้านสังคมศาสตร์ ศาสนาสมัยปัจจุบัน ศาสนาวัฒนธรรมเปรียบเทียบเชิงสังคมศาสตร์ วิจัยด้านศาสนาวัฒนธรรมในประเทศไทยมากว่า 20 ปี เอเชียตะวันออก จีนและเกาหลี 10 ปี และทำการวิจัยสำรวจร่วมกับนักศึกษาระดับปริญญาโทและเอกอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังวิจัยเกี่ยวกับลัทธิความเชื่อในศาสนา (Cult) กับสังคม และศาสนากับความสุข (Well-Being) อีกด้วย

การเรียนการสอน

รับผิดชอบการสอนรายวิชาสังคมศาสตร์ทั่วไป วิธีวิจัยเชิงสังคมศาสตร์ การวิจัยเชิงคุณภาพ (การสำรวจแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์ การวิจัยเชิงเอกสาร) ในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา และ ห้องสัมมนาหัวข้อโครงสร้างสังคมกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ศาสนาสังคม

การเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา

ในส่วนแนะนำห้องวิจัย มีหัวข้อวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาเอก (8คน) ปริญญาโท (14 คน) ที่อยู่ในความรับผิดชอบเขียนอยู่ และวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกมีบทย่อให้สามารถเข้าไปอ่านได้

การรับนักศึกษาวิจัย

รับเฉพาะผู้ที่ต้องการศึกษาด้านวัฒนธรรมศาสนาในจีน ญี่ปุน เอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยต้องเข้าเป็นนักศึกษาวิจัยเป็นเวลาครึ่งปีหรือ1 ปี และสอบเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทต่อไป

ประวัติโดยย่อ

  • ปี 1961 เกิด
  • ปี 1987 เข้าศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาพฤติกรรมศึกษา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮอกไกโด (พักการเรียน)
  • ปี 1987 อาจารย์ประจำ Hokusei Gakuen University Junior College
  • ปี 1990-91 นักวิจัยรับเชิญ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ปี 1992 อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮอกไกโด (สาขาพฤติกรรมมนุษย์)
  • ปี 1997-98 นักวิจัยรับเชิญ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ปี 2004 จบหลักสูตรปริญญาเอก (อักษรศาสตร์) แบบส่งวิทยานิพนธ
  • ปี 2004₋ปัจจุบัน อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยฮอกไกโด (สาขาระบบสังคมศึกษา)
  • ปี 2013-14 ศาสตราจารย์รับเชิญแผนกญี่ปุ่นศึกษา The Chinese University of Hong Kong ประเทศฮ่องกง

1. ไทยศึกษา・ Area Studies

งานเขียนและหนังสือส่วนใหญ่เป็นภาษาญี่ปุ่น แต่มีการแปลหัวข้อเป็นภาษาไทย

  • Sakurai Yoshihide and Somsak Srisontisuk, 2003, Regional Development in Northeast Thailand and Formation of Thai Civil Society, Khon Kaen University Press.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ, 2005,『การพัฒนาในภาคอีสานของไทยกับการฟื้นฟูวัฒนธรรม』Hokkaido University Press.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ, 2008, 『พระนักพัฒนาในภาคอีสานของไทย -ศาสนากับการช่วยเหลือสังคม』Azusa Press.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ・มิจิโนบุ เรียวโกะ, 2010, 『การกีดกันและการหลอมรวมทางสังคมในประเทศไทย ― การศึกษา・ การรักษาพยาบาล・ การมีส่วนร่วมทางสังคม』Azusa Press.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ(บรรณาธิการ) , 2013, 『ศาสนาพุทธนิกายเถรวาถในประเทศไทยกับการหลอมรวม ทางสังคม -ศาสนาในมุมมองด้านต้นทุนทางสังคม』Akashi shoten.

2. ศาสนาสังคม ・ศาสนวิทยา・ ตำราเรียนสังคมศาสตร์ศึกษา

เขียนหนังสือสำหรับนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยและประชาชนทั่วไป ผู้ที่จะสอบเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโทจำเป็นต้องอ่าน

  • ซากุไร โยชิฮิเดะ・มิกิ ฮิซุรุ (บรรณาธิการ), 2007,『เข้าใจศาสนาสังคมวิทยา』Minerva shobo.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ・อีดะ โทชิโร่・นิชิอุระ อิซะโอะ (บรรณาธิการ) ,2014,『Ambitious Shakaigaku』Hokkaido University Press.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ・ฮิระฟุจิ คิคุโกะ (บรรณาธิการ), 2015,『เข้าใจศาสนวิทยา』Minerva shobo.

3. ศาสนาใหม่ ・ลัทธิบูชา (Cult)

  • ซากุไร โยชิฮิเดะ, 2006,『คิดทบทวนเรื่องลัทธิบูชา (Cult)- ความเสี่ยงจากอิสระในการเลือกนับถือศาสนา』
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ, 2009,『วิญญาณกับเงิน : Spiritual โครงสร้างธุรกิจความเชื่อและจิตวิญญาณ』Shinchousha.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ(บรรณาธิการ) , 2009,『Cult กับ Spirituality -การบรรเทาทุกข์กับการหลุดพ้น』Minerva shobo.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ・นาคานิชิ ฮิโรโกะ, 2010,『ลัทธิโบสถ์คริสต์สามัคคี (Unification Church) ―กลยุทธ์การเผยแผ่ในญี่ปุ่นและคำสอนในญี่ปุ่นและเกาหลี』Hokkaido University Press.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ・โอฮะตะ โนโบรุ, 2012,『การรับมือกับ Cult ในมหาวิทยาลัย』Hokkaido University Press.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ, 2014, 『ปัญหาลัทธิความเชื่อ Cult กับการรับรู้ของสังคม ― กระบวนการยุติธรรม・ สื่อ・ การวิจัยด้านศาสนา』Minerva shobo.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ,2015, 『การออกจากลัทธิความเชื่อและการฟื้นฟูจิตใจ』 Hokkaido University Press.

4. ศาสนาและวัฒนธรรมเปรียบเทียบในเอเชียตะวันออก

  • ซากุไร โยชิฮิเดะ ,2010,『การแต่งงานของคนตาย-การบูชาบรรพบุรุษกับความเชื่อเรื่องคนทรงเจ้า』Hokkaido University Press.
  • Lee Wonbum・ซากุไร โยชิฮิเดะ(บรรณาธิการ),2011,『วัฒนธรรมศาสนาในเกาหลีและญี่ปุ่น-ศาสนาของญี่ปุ่นในเกาหลีและศาสนาคริสต์เกาหลีในญี่ปุ่น 』Hokkaido University Press.
  • Lee Wonbum・ซากุไร โยชิฮิเดะ(บรรณาธิการ),2011, 『การแลกเปลี่ยนทางศาสนาในญี่ปุ่นและเกาหลี 』Jinbunsha.)。
  • มิกิ ฮิซุรุ・ซากุไร โยชิฮิเดะ(บรรณาธิการ) ,2012,『ศาสนาของผู้อพยพในญี่ปุ่น ความหลากหลายทางศาสนากับผู้อพยพ』Minerva shobo.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ・ฮามาดะ โย (บรรณาธิการ) ,2012,『ศาสนาในเอเชียกับแนวคิดทุนทางสังคม』 Akashi shoten.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ・โทกะว่า มาซาฮิโกะ・ยาโนะ ฮิเดะทาเคะ (บรรณาธิการ) ,2015, 『ศาสนาพุทธกับการมีส่วนร่วมทางสังคมในเอเชีย มุมมองด้านการเมืองและศาสนา』Hokkaido University Press.

5. สังคมประชากรลดจำนวน・ ศาสนากับ Well-being

  • Sakurai Yoshihide, Wada Hiromi and Wai Ling Lai , 2010, A Study of Healthy Beingー: From interdisciplinary approach, Azusa Press.
  • ซากุไร โยชิฮิเดะ・คาวามาตะ โทชิโนริ (บรรณาธิการ) ,2016,『วัดกับสังคมประชากรลดจำนวน-มุมมองด้านทุนทางสังคม 』